We serve as intermediaries for individuals who have an interest in engaging with the community, hand-woven fabrics, or local handicrafts. Our aim is to assist in translating design thinking into the design process, beginning with meaningful conversations with local artisans to foster a deeper understanding. Moreover, we are committed to upholding ethical principles of collaboration throughout our endeavors.
เราคือตัวกลาง สำหรับผู้ที่สนใจอยากทำงานกับชุมชน อยากได้ผ้าทอมือหรืองานหัตถกรรมชุมชน โดยเราจะช่วยถอดความคิดเชิงงานออกแบบ ไปสู่กระบวนการที่จะ "คุย" กับแม่ๆ พ่อๆ ช่างหัตกรรมท้องถิ่นอย่างเข้าใจ และยึดถือหลักจริยธรรมในการทำงานร่วมกัน
"How far will Thai crafts go?" It is a question that we set up to think about what we are good at, what we can push, and what else we can do. That is enough to make THAI CRAFTS known internationally due to issues about the disparity of demand and supply between local artisans and markets that need handicrafts due to the lack of an intermediary to understand and reach, we rely on the knowledge we have. Both from experience that operates businesses or projects that work together with the community many styles and many groups throughout Thailand to want to create a development process to reduce the disparity of the problem and create more possibilities.
งานฝีมือไทยจะไปไกลแค่ไหน คือคำถามที่เราตั้งขึ้นเพื่อให้ฉุดคิดกันว่า แท้จริงแล้วเราเด่นเรื่องอะไร เราสามารถพลักดันอะไรไปได้บ้าง และ ยังมีอะไรที่เรายังทำได้อีก แบบที่พอจะทำให้ THAI CRAFTS เป็นที่รู้จักกันในระดับสากล เนื่องจากประเด็นปัญหาที่มองเห็น เรื่องความเลื่อมล้ำกันของอุปสงค์ และอุปทานระหว่าง ช่างฝีมือหัตถกรรม และ ตลาดที่ต้องการงานหัตถกรรม เนื่องจาก ขาดตัวกลางในการสื่อสาร ที่เข้าใจ และเข้าถึง เราจึงอาศัยองค์ความรู้ที่เรามี ทั้งจากประสบการณ์ ที่ดำเนินกิจการ หรือโครงการ ที่ทำงานร่วมกันกับชุมชน หลายหลายรูปแบบ และหลายกลุ่มทั่วทั้งประเทศไทย เพื่อต้องการสร้างกระบวนการในการพัฒนา ลดความเลื่อมล้ำของปัญหา และสร้างให้เกิดรูปแบบที่เป็นไปได้จริง
The disparity of demand and supply between local artisans
and markets that need handicrafts.
Creating a Wisdomative process is to work with a crafts community
or artisans to develop and design products that meet market needs
based on knowledge of local wisdom.
ความเลื่อมล้ำของ อุปสงค์ และ อุปทาน ระหว่างช่างฝีมือหัตถกรรม และ ตลาดที่ต้องการงานหัตถกรรม
สร้างกระบวนการ Wisdomative คือ การทำงานร่วมกับชุมชนหรือช่างฝีมือ ในการพัฒนา และออกแบบ ผลิตภัณฑ์ ที่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาด โดยอาศัย องค์ความรู้ภูมิปัญญาพื้นถิ่น มาต่อยอด
Due to a long time working together with the crafts community in many areas throughout Thailand. We realize the problems with the disparity of demand and supply between local artisans and markets that need handicrafts. Due to the lack of intermediary to communication to understand and reach, we rely on the knowledge we have. From our experience that operates businesses or projects that work with the crafts community in many groups throughout Thailand. We would like to create a development process to reduce the disparity of the problem and create real possibilities.
เนื่องจากการทำงานร่วมกันกับชุนชนมาเป็นเวลานาน ในหลายพื้นที่ทั่วประเทศไทย ทำให้มองเห็นปัญหา เรื่องความเลื่อมล้ำกันของอุปสงค์ และอุปทานระหว่าง ช่างฝีมือหัตถกรรม และ ตลาดที่ต้องการงานหัตถกรรม เนื่องจากขาดตัวกลางในการสื่อสาร ที่เข้าใจ และเข้าถึง เราจึงอาศัยองค์ความรู้และประสบการณ์ที่เรามีในการทำงานร่วมกันกับชุมชน หลายหลายรูปแบบ และหลายกลุ่มทั่วทั้งประเทศไทย เพื่อต้องการสร้างกระบวนการในการพัฒนา ลดความเลื่อมล้ำของปัญหา และสร้างให้เกิดรูปแบบที่เป็นไปได้จริง
If the crafts community could reduce the disparity of demand and supply between local artisans and markets that need handicrafts will be able to make the Thai crafts work for sustainable growth and helpful to the community economy
Wisdomative Canvas is a tool for working with the crafts community by learning and understanding the knowledge of local wisdom. Leading to the development and expansion of what can be possible in the future as a translation tool between artisans and those interested to use handicrafts with the principles of tools as follows
ถ้าชุมชนสามารถลดความเลื่อมล้ำของ อุปสงค์ และ อุปทาน ระหว่างช่างฝีมือหัตถกรรม และ ตลาดที่ต้องการงานหัตถกรรมได้ จะสามารถทำให้งานหัตกรรมไทยเติบโตได้อย่างยั่งยืน และเป็นประโยชน์ ต่อเศรษฐกิจชุมชน
Wisdomative Canvas คือกระบวนการ คือเครื่องมือ ในการทำงานกับชุมชน ด้วยการเรียนรู้และเข้าใจพื้นฐาน ที่มีของชุมชน นำไปสู่การพัฒนาและต่อยอด สิ่งที่สามารถเป็นไปได้ ในอนาคต เสมือนเครื่องมือแปลภาษา ระหว่าง ผู้ทำงานหัตถกรรม กับผู้ที่สนใจ ในการใช้งาน หัตถกรรม โดยมี หลักการของเครื่องมือดังนี้
สาธิมา พุ่มศิริ
เจ้าของสตูดิโอ AatMann,
วิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการย้อมคราม และสีธรรมชาติ
Botanical Dye Specialist
อวิกา สมัครสมาน
นักออกแบบผ้า และศิลปิน Textile Art , วิทยากรสอนทอผ้า ผู้มีผลงานทั้งไทย และ ต่างประเทศ
Designer & Textile Artist
ศักดิ์สิทธิ์ ภัทรประกฤต
วิทยากร กระบวนกร และ นักสร้างสรรค์งานหัตถกรรมร่วมสมัย
Creative Director
ลิขสิทธิ์ ©2024 Wisdomative - สงวนสิทธิ์ทุกประการ
The Creative Fabric Craft in Thailand.
เราาใช้คุกกี้ในการวิเคราะห์การเข้าชมเว็บไซต์และปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้งานเว็บไซต์ของคุณให้ดีขึ้น เมื่อยอมรับการใช้งานคุกกี้ของเรา เราจะรวบรวมข้อมูลของคุณกับข้อมูลผู้ใช้อื่นๆ ทั้งหมด